ตะกร้อลูกเงาะมีฐาน

ตะกร้อลูกเงาะมีฐาน

ชื่อเครื่องประดับไทย
  1. ชื่อเรียก
    ตะกร้อลูกเงาะมีฐาน
  2. ภาษาของชื่อเรียก
    ไทย (THA)
  3. ประเภทของชื่อเรียก
    • ชื่อเรียกท้องถิ่น : ตะกร้อลูกเงาะมีฐาน
  4. ชื่อสถานที่
    อำเภอศรีสัชนาลัย
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
  • คุณแม่สมสมัย เขาเหิน
วันเวลา
  1. ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงาน
    รัตนโกสินทร์
  2. วันเวลาที่เก็บข้อมูล
    ไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
  1. ทองสุโขทัย ทองโบราณ งานฝีมือ
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย

หมวด 1 การเตรียมวัสดุ

  • bullet_first การหลอมโลหะ
  • bullet_first การดึงลวด หมุนเกลียว
  •       bullet_second การทำไข่ปลา
  •       bullet_second การตีเกลียว หมุนเกลียว

หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)

  •       bullet_second การเคาะ, โอ
  • bullet_first การดัด

หมวด 10 การจบงาน

  • bullet_first การย้อมทอง
  • bullet_first การขัดแต่ง
คำอธิบาย
  1. การนำลวดทองมาดัดเป็นรูปทรงตะกร้อทรงกลมและประดับด้วยไข่ปลาเจ็ดเม็ด ที่ฐานสองด้านประดับด้วยไข่ปลา 3 เม็ดโดยรอบของฐาน
เจ้าของสิทธิ์
  1. ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
  1. แหล่งที่พบ
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
  2. แหล่งที่ผลิต
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
  3. แหล่งที่จำหน่าย
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
  4. แหล่งที่เก็บรักษา
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
หมวดหมู่
  1. ลักษณะการใช้งาน
    ใช้สำหรับเป็นชิ้นส่วนของเครื่องประดับ
  2. ประเภทเครื่องประดับไทย
    รูปทรง
  3. ตำแหน่งบนเครื่องประดับ
    ไม่เฉพาะเจาะจง

แสดงความคิดเห็น