จี้ทับทรวง

จี้ทับทรวง

ชื่อเครื่องประดับไทย
  1. ชื่อเรียก
    จี้ทับทรวง
  2. ภาษาของชื่อเรียก
    ไทย (THA)
  3. ประเภทของชื่อเรียก
    • ชื่อเรียกท้องถิ่น : จี้ทับทรวง
  4. ชื่อสถานที่
    เพชรบุรี
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
  • กลุ่มช่างทองโบราณเพชรบุรี
วันเวลา
  1. ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงาน
    รัตนโกสินทร์
  2. วันเวลาที่เก็บข้อมูล
    ไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
  1. ทองโบราณเพชรบุรี
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย

หมวด 1 การเตรียมวัสดุ

  • bullet_first การหลอมโลหะ
  • bullet_first การรีดแผ่นโลหะ

หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)

  • bullet_first การขึ้นรูปจากแผ่น
  • bullet_first การดัด

หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย

  • bullet_first การฉลุ

หมวด 6 การประดับอัญมณี

  • bullet_first การฝังสอด
  • bullet_first การฝังหุ้ม

หมวด 10 การจบงาน

  • bullet_first การย้อมทอง
  • bullet_first การขัดแต่ง
คำอธิบาย
  1. นำแผ่นทองมาฉลุลวดลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนคล้ายทับทรวง จากนั้นประดับด้วยลวดดัดลายใบไม้ ตรงกลางฝังอัญมณีทับบทิมล้อมด้วยเพชร และพลอยนพเก้า ตรงขอบจี้ฝังล้อมด้วยทับทิม
เจ้าของสิทธิ์
  1. ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
  1. แหล่งที่พบ
    ไม่ระบุแหล่งที่พบ
  2. แหล่งที่ผลิต
    ไม่ระบุแหล่งที่ผลิต
หมวดหมู่
  1. ลักษณะการใช้งาน
  2. ประเภทเครื่องประดับไทย
    รูปแบบเฉพาะ

แสดงความคิดเห็น