จี้หทัยทิพย์
จี้หทัยทิพย์
ชื่อเครื่องประดับไทย
-
ชื่อเรียกจี้หทัยทิพย์
-
ภาษาของชื่อเรียกไทย (THA)
-
ประเภทของชื่อเรียก
- ชื่อเรียกท้องถิ่น : จี้หทัยทิพย์
-
ชื่อสถานที่ศรีสัชนาลัย สุโขทัย
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
- อรอนงค์ พิพิธทอง
วันเวลา
-
ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานรัตนโกสินทร์
-
วันเวลาที่เก็บข้อมูลไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
-
ทองโบราณสุโขทัย ศรีสัชนาลัย
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย
หมวด 1 การเตรียมวัสดุ
-
การหลอมโลหะ
-
การรีดแผ่นโลหะ
-
การดึงลวด หมุนเกลียว
-
การตีเกลียว หมุนเกลียว
หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)
-
งานร้อยห่วง การหิ้วห่วง
-
การเคาะ, โอ
-
การดัด
หมวด 3 เทคนิครอง (การทำอะไหล่)
-
การทำดอก
หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย
-
การเดินลวด
-
การฉลุ
หมวด 5 การลงยาสี
-
การลงยาสีร้อน
หมวด 10 การจบงาน
-
การย้อมทอง
-
การขัดแต่ง
คำอธิบาย
-
ตัวจี้ทำมาจากการขึ้นแผ่นทองคำ จากนั้นเคาะจนเป็นรูปหัวใจนูน โดยประดับโดยการติดลายเครือวัลย์น้อย มีไข่ปลาและลงยาสี และห้อยด้วยตุ้งติ้งสายโซ่ประคำเกี้ยง
เจ้าของสิทธิ์
-
ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
-
แหล่งที่พบศรีสัชนาลัย สุโขทัย
-
แหล่งที่ผลิตศรีสัชนาลัย สุโขทัย
-
แหล่งที่จำหน่ายศรีสัชนาลัย สุโขทัย
-
แหล่งที่เก็บรักษาศรีสัชนาลัย สุโขทัย
หมวดหมู่
-
ลักษณะการใช้งาน
-
ประเภทเครื่องประดับไทยรูปแบบเฉพาะ