ตะกร้อสุ่มมีฐาน
ตะกร้อสุ่มมีฐาน
ชื่อเครื่องประดับไทย
-
ชื่อเรียกตะกร้อสุ่มมีฐาน
-
ภาษาของชื่อเรียกไทย (THA)
-
ประเภทของชื่อเรียก
- ชื่อเรียกท้องถิ่น : ตะกร้อลูกสุ่มมีฐาน
-
ชื่อสถานที่อำเภอศรีสัชนาลัย
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
- คุณแม่สมสมัย เขาเหิน
วันเวลา
-
ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานรัตนโกสินทร์
-
วันเวลาที่เก็บข้อมูลไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
-
ทองสุโขทัย ทองโบราณ งานฝีมือ
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย
หมวด 1 การเตรียมวัสดุ
-
การหลอมโลหะ
-
การดึงลวด หมุนเกลียว
-
การทำไข่ปลา
หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)
-
การเคาะ, โอ
-
การดัด
หมวด 10 การจบงาน
-
การย้อมทอง
-
การขัดแต่ง
คำอธิบาย
-
การนำลวดทองคำมาขดเป็นทรงหยดน้ำต่อกัน 10 ชุด เป็นวงกลม จากนั้นนำมาโอเป็นรูปทรงตะกร้อ ประดับด้วยไข่ปลา 3 เม็ด ตรงกลางลูกตะกร้อทั้ง 2 ด้าน (บน ล่าง)
เจ้าของสิทธิ์
-
ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
-
แหล่งที่พบอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
-
แหล่งที่ผลิตอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
-
แหล่งที่จำหน่ายอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
-
แหล่งที่เก็บรักษาอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
หมวดหมู่
-
ลักษณะการใช้งานใช้สำหรับเป็นชิ้นส่วนของเครื่องประดับ
-
ประเภทเครื่องประดับไทยรูปทรง
-
ตำแหน่งบนเครื่องประดับไม่เฉพาะเจาะจง