แหวนดุนลายลงยาสี
แหวนดุนลายลงยาสี
ชื่อเครื่องประดับไทย
-
ชื่อเรียกแหวนดุนลายลงยาสี
-
ภาษาของชื่อเรียกไทย (THA)
-
ประเภทของชื่อเรียก
- ชื่อเรียกท้องถิ่น : แหวนดุนลายลงยาสี
-
ชื่อสถานที่เพชรบุรี
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
- กลุ่มช่างทองโบราณเพชรบุรี
วันเวลา
-
ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานรัตนโกสินทร์
-
วันเวลาที่เก็บข้อมูลไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
-
ทองโบราณเพชรบุรี
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย
หมวด 1 การเตรียมวัสดุ
-
การหลอมโลหะ
-
การรีดแผ่นโลหะ
หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)
-
การขึ้นรูปจากแผ่น
-
การเคาะ, โอ
หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย
-
การสลักดุน, สลักลาย, ต้องลาย
หมวด 5 การลงยาสี
-
การลงยาสีร้อน
หมวด 6 การประดับอัญมณี
-
การฝังหุ้ม
หมวด 10 การจบงาน
-
การย้อมทอง
-
การขัดแต่ง
คำอธิบาย
-
นำแผ่นทองมาโอ เป็นทรงแหวน จากนั้นดุนลายยกดอกให้เป็นลายกระจัง (ลายไทย) พร้อมลงยาสีให้สวยงาม และฝังอัญมณีกลางดอกกระจัง
เจ้าของสิทธิ์
-
ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
-
แหล่งที่พบไม่ระบุแหล่งที่พบ
-
แหล่งที่ผลิตไม่ระบุแหล่งที่ผลิต
หมวดหมู่
-
ลักษณะการใช้งานแหวน
-
ประเภทเครื่องประดับไทยรูปแบบเฉพาะ