แหวนมงกุฎ
แหวนมงกุฎ
ชื่อเครื่องประดับไทย
-
ชื่อเรียกแหวนมงกุฎ
-
ภาษาของชื่อเรียกไทย (THA)
-
ประเภทของชื่อเรียก
- ชื่อเรียกทั่วไป : แหวนมงกุฎ
-
ชื่อสถานที่ศรีสัชนาลัย
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
- สุภัจนา เขาเหิน
วันเวลา
-
ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานรัตนโกสินทร์
-
วันเวลาที่เก็บข้อมูลไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
-
ทองโบราณศรีสัชนาลัย
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย
หมวด 1 การเตรียมวัสดุ
-
การหลอมโลหะ
-
การรีดแผ่นโลหะ
-
การดึงลวด หมุนเกลียว
-
การทำไข่ปลา
-
การตีเกลียว หมุนเกลียว
หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)
-
การขึ้นรูปจากแผ่น
หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย
-
การประดับเม็ดไข่ปลา
-
การเดินลวด
-
การฉลุ
หมวด 5 การลงยาสี
-
การลงยาสีร้อน
หมวด 10 การจบงาน
-
การย้อมทอง
-
การขัดแต่ง
คำอธิบาย
-
การรีดแผ่นทอง จากนั้นทำการติดลายบนแผ่นทอง ได้แก่ ไข่ปลา ลายจันทร์เสี้ยว การลงยาสี และการฉลุลาย จากนั้นม้วนแผ่นทองเป็นวงกลมลักษณะแหวน และเชื่อมติดกัน พร้อมเก็บงานด้วยตะไบ และการขัดกระดาษทราย
เจ้าของสิทธิ์
-
ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
-
แหล่งที่พบอ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
-
แหล่งที่ผลิตอ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
-
แหล่งที่จำหน่ายอ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
-
แหล่งที่เก็บรักษาอ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
หมวดหมู่
-
ลักษณะการใช้งานแหวน
-
ประเภทเครื่องประดับไทยรูปทรง
-
ตำแหน่งบนเครื่องประดับไม่เฉพาะเจาะจง