กำไลหัวบัวไขว้
กำไลหัวบัวไขว้
ชื่อเครื่องประดับไทย
-
ชื่อเรียกกำไลหัวบัวไขว้
-
ภาษาของชื่อเรียกไทย (THA)
-
ประเภทของชื่อเรียก
- ชื่อเรียกทั่วไป : กำไลหัวบัว
-
ชื่อสถานที่บ้านเจ้าจอมเงินทองลายโบราณ
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
- ณัฐณา ยอดดี
วันเวลา
-
เวลาที่สร้างสรรค์ผลงาน22 ธันวาคม 2564
-
ช่วงเวลาที่สร้างสรรค์ผลงาน4-5วัน
-
ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานรัตนโกสินทร์
-
วันเวลาที่เก็บข้อมูล2024-06-19
คำสำคัญ
-
กำไลหัวบัวไขว้ผ่าล็อคสปริง
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย
หมวด 1 การเตรียมวัสดุ
-
การหลอมโลหะ
-
การรีดแผ่นโลหะ
-
การดึงลวด หมุนเกลียว
-
การทำไข่ปลา
-
การตีเกลียว หมุนเกลียว
-
การดึงลวดเป็นหลอด
หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)
-
การขึ้นรูปจากแผ่น
หมวด 3 เทคนิครอง (การทำอะไหล่)
-
การทำเม็ดประคำ
หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย
-
การประดับเม็ดไข่ปลา
-
การเดินลวด
-
การฉลุ
หมวด 7 การประกอบชิ้นงาน
-
การประกอบชิ้นงาน
หมวด 10 การจบงาน
-
การขัดแต่ง
คำอธิบาย
-
กำไลหัวบัวไขว้ผ่าล็อคสปริงแต่งลวดลายโบราณ
เจ้าของสิทธิ์
-
ณัฐณา ยอดดี
แหล่งที่อยู่
-
แหล่งที่พบบ้านเจ้าจอมเงินทองลายโบราณ
-
แหล่งที่ผลิตสุโขทัย
-
แหล่งที่จำหน่ายสุโขทัย
-
แหล่งที่เก็บรักษาสุโขทัย
หมวดหมู่
-
ลักษณะการใช้งานกำไล
-
ประเภทเครื่องประดับไทยรูปแบบเฉพาะ