จี้ดอกพิกุล

จี้ดอกพิกุล

ชื่อเครื่องประดับไทย
  1. ชื่อเรียก
    จี้ดอกพิกุล
  2. ภาษาของชื่อเรียก
    ไทย (THA)
  3. ประเภทของชื่อเรียก
    • ชื่อเรียกท้องถิ่น : จี้ดอกพิกุล
  4. ชื่อสถานที่
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
  • คุณสุภัจนา เขาเหิน
วันเวลา
  1. ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงาน
    รัตนโกสินทร์
  2. วันเวลาที่เก็บข้อมูล
    ไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
  1. ทองลายโบราณ ทองสุโขทัย
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย

หมวด 1 การเตรียมวัสดุ

  • bullet_first การหลอมโลหะ
  • bullet_first การรีดแผ่นโลหะ
  • bullet_first การดึงลวด หมุนเกลียว
  •       bullet_second การทำไข่ปลา

หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)

  • bullet_first งานร้อยห่วง การหิ้วห่วง
  •       bullet_second การเคาะ, โอ
  • bullet_first การขึ้นรูปด้วยลวด
  • bullet_first การดัด

หมวด 3 เทคนิครอง (การทำอะไหล่)

  • bullet_first การทำดอก

หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย

  • bullet_first การประดับเม็ดไข่ปลา
  • bullet_first การเดินลวด

หมวด 10 การจบงาน

  • bullet_first การย้อมทอง
  • bullet_first การขัดแต่ง
คำอธิบาย
  1. ตัวจี้ขึ้นรูปด้วยโครงตะข่ายทอง ใช้ไข่ปลาติดบนโครงตาข่ายเป็นลายดอกพิกุล โดยมีการเดินขอบรอบตัวจี้ด้วยไข่ปลา 3 เม็ด ด้านล่างจี้ประดับด้วยลูกสุ่ม เพื่อให้มีความอ่อนช้อย
เจ้าของสิทธิ์
  1. ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
  1. แหล่งที่พบ
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
  2. แหล่งที่ผลิต
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
  3. แหล่งที่จำหน่าย
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
  4. แหล่งที่เก็บรักษา
    อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
หมวดหมู่
  1. ลักษณะการใช้งาน
    สร้อยคอ
  2. ประเภทเครื่องประดับไทย
    รูปแบบเฉพาะ
  3. ตำแหน่งบนเครื่องประดับ
    ไม่เฉพาะเจาะจง

แสดงความคิดเห็น