แหวนเขี้ยวหมู
แหวนเขี้ยวหมู
ชื่อเครื่องประดับไทย
-
ชื่อเรียกแหวนเขี้ยวหมู
-
ภาษาของชื่อเรียกไทย (THA)
-
ประเภทของชื่อเรียก
- ชื่อเรียกท้องถิ่น : แหวนเขี้ยวหมู
-
ชื่อสถานที่เพชรบุรี
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
- กลุ่มช่างทองโบราณเพชรบุรี
วันเวลา
-
ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงานรัตนโกสินทร์
-
วันเวลาที่เก็บข้อมูล2000-01-01
คำสำคัญ
-
ทองโบราณเพชรบุรี
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย
หมวด 1 การเตรียมวัสดุ
-
การหลอมโลหะ
-
การรีดแผ่นโลหะ
-
การดึงลวด หมุนเกลียว
-
การตีเกลียว หมุนเกลียว
หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)
-
การขึ้นรูปจากแผ่น
-
การดัด
หมวด 4 การตกแต่งลวดลาย
-
การประดับเม็ดไข่ปลา
หมวด 6 การประดับอัญมณี
-
การฝังสอด
-
การฝังหุ้ม
หมวด 10 การจบงาน
-
การย้อมทอง
-
การขัดแต่ง
คำอธิบาย
-
แหวนวมีกระเปาะตรงกลางเพื่อฝังอัญมณี โดยด้านข้างกระเปาะมีการทำทองให้เป็นรูปเขี้ยวหมูเพื่อยึดพลอยหัวแหวนไว้ ตัวหัวแแหวนประดับด้วยไข่ปลาและเพชรซีก ด้านข้างแหวนประดับด้วยการฝังอัญมณี ไขปลา และลวดเกลียวดัด
เจ้าของสิทธิ์
-
-
แหล่งที่อยู่
-
แหล่งที่พบเพชรบุรี
-
แหล่งที่ผลิตเพชรบุรี
-
แหล่งที่จำหน่ายเพชรบุรี
-
แหล่งที่เก็บรักษาเพชรบุรี
หมวดหมู่
-
ลักษณะการใช้งานแหวน
-
ประเภทเครื่องประดับไทยรูปแบบเฉพาะ