จี้ปะว่ะหล่ำทรงเครื่อง

จี้ปะว่ะหล่ำทรงเครื่อง

ชื่อเครื่องประดับไทย
  1. ชื่อเรียก
    จี้ปะว่ะหล่ำทรงเครื่อง
  2. ภาษาของชื่อเรียก
    ไทย (THA)
  3. ประเภทของชื่อเรียก
    • ชื่อเรียกท้องถิ่น : จี้ปะวะหล่ำทรงเครื่อง
  4. ชื่อสถานที่
    เพชรบุรี
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
  • กลุ่มช่างทองโบราณเพชรบุรี
วันเวลา
  1. ยุคสมัยที่สร้างสรรค์ผลงาน
    รัตนโกสินทร์
  2. วันเวลาที่เก็บข้อมูล
    ไม่ระบุวันเวลาที่เก็บข้อมูล
คำสำคัญ
  1. ทองโบราณเพชรบุรี
กรรมวิธีที่ใช่ในการสร้างเครื่องประดับไทย

หมวด 1 การเตรียมวัสดุ

  • bullet_first การหลอมโลหะ
  • bullet_first การดึงลวด หมุนเกลียว
  •       bullet_second การทำไข่ปลา
  •       bullet_second การตีเกลียว หมุนเกลียว

หมวด 2 เทคนิคหลัก (การขึ้นรูป, การขึ้นโครง)

  • bullet_first การขึ้นรูปด้วยลวด
  • bullet_first การดัด

หมวด 6 การประดับอัญมณี

  • bullet_first การฝังหุ้ม

หมวด 10 การจบงาน

  • bullet_first การย้อมทอง
  • bullet_first การขัดแต่ง
คำอธิบาย
  1. ตัวจี้ปะวะหล่ำทรงเครื่อง ขึ้นรูปด้วยลวดเกลียวเป็นทรงโคมจีนประดับด้วยทับทิมแบบหุ้มผ่าหวาย ปลายลูกปะว่ะหล่ำห้อยตุ้งติ้งด้วยใบข้าวหลามตัด
เจ้าของสิทธิ์
  1. ไม่ระบุเจ้าของสิทธิ์
แหล่งที่อยู่
  1. แหล่งที่พบ
    เพชรบุรี
  2. แหล่งที่ผลิต
    เพชรบุรี
  3. แหล่งที่จำหน่าย
    เพชรบุรี
  4. แหล่งที่เก็บรักษา
    เพชรบุรี
หมวดหมู่
  1. ลักษณะการใช้งาน
    ใช้สำหรับเป็นชิ้นส่วนของเครื่องประดับ
  2. ประเภทเครื่องประดับไทย
    รูปแบบเฉพาะ

แสดงความคิดเห็น